สมาชิกสมาคมพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ศูนย์วิจัยพลังงานทดแทนมหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี 2558/050
ปัจจุบันประเทศไทย
มีความต้องการด้านพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นทุกปี
ทำให้ต้องมีการนำเข้าพลังงานก๊าซ
และน้ำมันมาจากต่างประเทศเพื่อนำมาแปรเป็นกระแสไฟฟ้า เพื่อตอบสนอง ความต้องการใช้
ทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน ที่ไม่เพียงพอจากแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในประเทศซึ่งกำลังจะหมดไป
พลังงานทางเลือกจึงนับเป็นอีก หนึ่งเรื่องที่นับว่า เป็นปัจจัยหลักๆในการ ลดค่าครองชีพของการดำรงชีวิต
แหล่งพลังงานทีได้นำมาทำศูนย์วิจัยเกิดจากความชื้นที่มีสะสมอยู่ในอากาศ ซึ่งในเรืองความชื้นจะเป็นปัจจัยหลักๆ ในการเกิดเมฆฝน ฟ้าแล็ปฟ้าร้อง ซึ่งแม่แต่การสร้างฝนเทียมยังต้องอาศัยปัจจัย ความชื้นเป็นตัวกำหนดโอกาส ในการเกิดฝน ซึ่งเป็นแรงบััลดารใจให้เกิด ศูนย์วิจัยนี้ขึ้นมา เพื่อผลิิตกระแสไฟฟ้า จากปรากกการณ์ธรรมชาติประยุคต์
โดยการ แยกกระบวนการวิจัย จาก
1 การเกิดความชื้นและการเคลื่อนที่ของความชื้น
4 การตรวจสอบควบคุมปริมาณไฟฟ้าที่ได้
1 ความชื้นในอากาศเกิดจาก แหล่งน้ำทั้งหมดที่มีอยู่บนผิวโลก เช่น มหาสมุทร . ทะเลสาบ. ห้วย. หนอง.คลอง.บึง ต่างๆเมื่อได้รับความร้อนจากผิวโลกก็ระเหย ไปในอากาศ มากมาย แทรกซึม ทะลุทะลวง ปะปนไปในทุกๆที่บนผิวโลก
พลังงานทางเลือกจึงนับเป็นอีก หนึ่งเรื่องที่นับว่า เป็นปัจจัยหลักๆในการ ลดค่าครองชีพของการดำรงชีวิต
แหล่งพลังงานทีได้นำมาทำศูนย์วิจัยเกิดจากความชื้นที่มีสะสมอยู่ในอากาศ ซึ่งในเรืองความชื้นจะเป็นปัจจัยหลักๆ ในการเกิดเมฆฝน ฟ้าแล็ปฟ้าร้อง ซึ่งแม่แต่การสร้างฝนเทียมยังต้องอาศัยปัจจัย ความชื้นเป็นตัวกำหนดโอกาส ในการเกิดฝน ซึ่งเป็นแรงบััลดารใจให้เกิด ศูนย์วิจัยนี้ขึ้นมา เพื่อผลิิตกระแสไฟฟ้า จากปรากกการณ์ธรรมชาติประยุคต์
โดยการ แยกกระบวนการวิจัย จาก
1 การเกิดความชื้นและการเคลื่อนที่ของความชื้น
2 การเหนี่ยวนำความชื้นให้รวมตัววัสดุที่กำหนด
3 การแลกเปลี่ยนศักย์ ของความชื้นในสภาพแวดล้อมต่างๆ4 การตรวจสอบควบคุมปริมาณไฟฟ้าที่ได้
1 ความชื้นในอากาศเกิดจาก แหล่งน้ำทั้งหมดที่มีอยู่บนผิวโลก เช่น มหาสมุทร . ทะเลสาบ. ห้วย. หนอง.คลอง.บึง ต่างๆเมื่อได้รับความร้อนจากผิวโลกก็ระเหย ไปในอากาศ มากมาย แทรกซึม ทะลุทะลวง ปะปนไปในทุกๆที่บนผิวโลก
ทะเลไทยมีพื้นที่ 350,000 ตารางกิโลเมตร
จะมีการละเหยที่เกิดจากการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไออย่างช้าๆ และเกิดขึ้นเฉพาะผิวหน้าของๆเหลวเท่านั้น ซึ่งการละเหย สามารถระเหยได้ จากอุณหภูมิ ที่
0-100 c ที่ความดันในบรรยากาศ
ซึ่งหาก 1 ชั่วโมง น้ำในทะเลระเหย 0.5เซนติเมตร เราจะมี
ละอองอากาศเพื่อนำมาทำกระแสไฟฟ้า ได้มากถึง 1,750,000 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งอาจมากกว่าหกชั่วโมงต่อวัน โดยประมาณที่รอยอยู่ในอากาศรอบๆตัวเราซึ่งยังไม่ร่วม
จากการระเหยในที่ต่าง เช่น ห้วย หนอง คลอง บึง และเขื่อนต่างๆ
ในแต่ละวันซึ่งเปรียบเทียบปริมาณไอน้ำ ที่ได้อาจต้อง ใช้เชื้อเพลิง มาเผามากมาย
2 แก่นควบแน่นมีคุณสมบัติในการดูดซับน้ำ(Hygroscopic) ซึ่งมีขนาดประมาณ 0.0002
มิลลิเมตร เกิดจาก ละอองเกสรดอกไม้ และพืชสาหร่าย
แพลงตอน บางชนิด (Dimethylsufide หรือDSM และแร่บางชนิด
3 การใช้ประจุ บวกลบ ในการแลกเปลี่ยน เพื่อสร้างกำลังไฟฟ้า
4 วิิศวกรรมไฟฟ้า การกำหนดวงจร และความปลอดภัยของผู้นำไปใช้
ซึ่งเป็นภาระกิจหลักของศูนย์วิจัยที่จะสามารถ แบ่งเบาภาระของรัฐบาล และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทย จากการลดการนำเข้าพลังงานจาก ต่างประเทศได้ไม่มากก้น้อย